3.1.1.6 น้ำผิวดิน

รายละเอียด
ลำดับ เรื่องที่ต้องปฏิบัติ อ้างอิงกฎหมาย
ฉบับที่
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
จำนวน 3 ฉบับ
พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535
จำนวน 2 ฉบับ
1 กฎหมายกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน โดยแบ่งออกเป็น 5 ประเภท พารามิเตอร์ที่เน้น ได้แก่ อุณหภูมิ ความเป็นกรดและด่าง ออกซิเจนละลาย บีโอดี แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด ไนเตรด แอมโมเนีย ฟีนอล ทองแดง นิคเกิล แมงกานีส สังกะสี แคดเมียม โครเมียมเฮกซาวาเลน ตะกั่ว ปรอททั้งหมด สารหนู ไซยาไนด์ กัมมัตภาพรังสี สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ชนิดที่มีคลอรีนทั้งหมด ดีดีที บีเอชซีชนิดแอลฟา ดิลดริน อัลดริน เฮปตาคลอร์ และเอนดริน วิธีการในการตรวจสอบคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดินและการเก็บรักษาตัวอย่างน้ำ ให้ใช้วิธีการตามที่ US. EPA กำหนด หรือวิธีการอื่นๆที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ [1],[2],[3]
2 กฎหมายกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล แบ่งออกเป็น 6 ประเภท พารามิเตอร์ที่เน้น ได้แก่ การตรวจสอบวัตถุลอยน้ำ น้ำมันและไขมันบนผิวน้ำ สี กลิ่น อุณหภูมิ ความเป็นกรดและด่าง (pH) สารแขวนลอย (Suspended Solids) ความเค็ม (Salinity) ปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอน (Petroleum Hydrocarbon) ออกซิเจนละลาย (Dissolved Oxygen) แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria) ไนเตรท-ไนโตรเจน (Nitrate-Nitrogen) ฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส (Phosphate-phosphorus) แอมโมเนีย-ไนโตรเจน (รูปที่ไม่มีอิออน, Unionized Ammonia) แคดเมียม โครเมียมเฮกซาวาเลน แมงกานีส ฟลูออไรด์ คลอรีนคงเหลือ ฟีนอล ซัลไฟด์ ไซยาไนด์ พีซีบี สารหนู สารประกอบดีบุกอินทรีย์ชนิดไตรบิวทิล กัมมันตภาพรังสีรวมเบตา (Beta) และสารเคมีที่ใช้ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ วิธีการในการตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเลและการเก็บรักษาตัวอย่างน้ำทะเลให้ใช้วิธีการตามที่กรมควบคุมมลพิษกำหนดในกฎหมาย [1],[2],[4]
รายละเอียด
ลำดับ เรื่องที่ต้องปฏิบัติ อ้างอิงกฎหมาย
ฉบับที่
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
จำนวน 3 ฉบับ
พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535
จำนวน 2 ฉบับ
1 กฎหมายกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน โดยแบ่งออกเป็น 5 ประเภท พารามิเตอร์ที่เน้น ได้แก่ อุณหภูมิ ความเป็นกรดและด่าง ออกซิเจนละลาย บีโอดี แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด ไนเตรด แอมโมเนีย ฟีนอล ทองแดง นิคเกิล แมงกานีส สังกะสี แคดเมียม โครเมียมเฮกซาวาเลน ตะกั่ว ปรอททั้งหมด สารหนู ไซยาไนด์ กัมมัตภาพรังสี สารฆ่าศัตรูพืชและสัตว์ชนิดที่มีคลอรีนทั้งหมด ดีดีที บีเอชซีชนิดแอลฟา ดิลดริน อัลดริน เฮปตาคลอร์ และเอนดริน วิธีการในการตรวจสอบคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดินและการเก็บรักษาตัวอย่างน้ำ ให้ใช้วิธีการตามที่ US. EPA กำหนด หรือวิธีการอื่นๆที่กรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ [1],[2],[3]
2 กฎหมายกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล แบ่งออกเป็น 6 ประเภท พารามิเตอร์ที่เน้น ได้แก่ การตรวจสอบวัตถุลอยน้ำ น้ำมันและไขมันบนผิวน้ำ สี กลิ่น อุณหภูมิ ความเป็นกรดและด่าง (pH) สารแขวนลอย (Suspended Solids) ความเค็ม (Salinity) ปิโตรเลียมไฮโดรคาร์บอน (Petroleum Hydrocarbon) ออกซิเจนละลาย (Dissolved Oxygen) แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria) ไนเตรท-ไนโตรเจน (Nitrate-Nitrogen) ฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส (Phosphate-phosphorus) แอมโมเนีย-ไนโตรเจน (รูปที่ไม่มีอิออน, Unionized Ammonia) แคดเมียม โครเมียมเฮกซาวาเลน แมงกานีส ฟลูออไรด์ คลอรีนคงเหลือ ฟีนอล ซัลไฟด์ ไซยาไนด์ พีซีบี สารหนู สารประกอบดีบุกอินทรีย์ชนิดไตรบิวทิล กัมมันตภาพรังสีรวมเบตา (Beta) และสารเคมีที่ใช้ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ วิธีการในการตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเลและการเก็บรักษาตัวอย่างน้ำทะเลให้ใช้วิธีการตามที่กรมควบคุมมลพิษกำหนดในกฎหมาย [1],[2],[4]
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ลำดับ รายชื่อกฎหมาย กฎหมาย
1 พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
2 พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535
3 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน
4 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 27 (พ.ศ. 2549) เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล
แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง
ลำดับ รายชื่อฟอร์ม แบบฟอร์ม