3.1.1.9 บุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม

รายละเอียด
ลำดับ เรื่องที่ต้องปฏิบัติ อ้างอิงกฎหมาย
ฉบับที่
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
จำนวน 1 ฉบับ
พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535
จำนวน 10 ฉบับ
1 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการแจ้งและการรับแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน ได้แก่ ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานที่จะต้องแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน และการแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงานครั้งต่อ ๆ ไปให้แจ้งภายใน 90 วัน ก่อนวันครบกำหนดทุก ๆ 3 ปีนับแต่วันที่ผู้รับแจ้งออกหนังสือรับแจ้งให้ในครั้งก่อน และกรณีที่ไม่ได้แจ้งตามระยะเวลาที่ครบกำหนด 3 ปี ในคราวใด ให้ถือว่าผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานไม่ได้แจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงานนับแต่วันสิ้นกำหนดระยะเวลา 3 ปีของปีอันเป็นเหตุให้มีการแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน เป็นต้น [1],[2],[6],[11]
2 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติ การฝึกอบรม และสอบมาตรฐานของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน ได้แก่ คุณสมบัติของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรมบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน คุณสมบัติผู้เข้ารับการสอบมาตรฐาน การขออนุญาตขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยฝึกอบรมบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน หลักสูตรฝึกอบรมบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน หน้าที่ของหน่วยงานจัดฝึกอบรมบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน คุณสมบัติของหน่วยงานจัดสอบมาตรฐาน การขออนุญาตขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยจัดสอบมาตรฐาน การสอบมาตรฐาน หน้าที่ของหน่วยงานจัดสอบมาตรฐาน การตรวจสอบและกำกับดูแลหน่วยงานจัดฝึกอบรมและหน่วยงานจัดสอบมาตรฐาน [1],[2],[7]
3 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม ได้แก่ การขึ้นทะเบียนและต่ออายุผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรมแบบบุคคล และแบบบริษัทที่ปรึกษา และการปฏิบัติงานของผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม หรือบริษัทที่ปรึกษา เป็นต้น [1],[2],[8]
4 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรมและการสอบมาตรฐาน หลักสูตรผู้ควบคุมประจำหม้อน้ำหรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำความร้อน ได้แก่ การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรม รายละเอียดหลักสูตร การสอบมาตรฐาน ใบรับรองการฝึกอบรม และการกำกับดูแลหน่วยงานจัดฝึกอบรมเป็นต้น [1],[2],[9]
5 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ดำเนินการจัดฝึกอบรมและการออกหนังสือรับรองการฝึกอบรมหลักสูตรคนงานควบคุม ส่ง และบรรจุก๊าซประจำโรงงาน ได้แก่ การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรม รายละเอียดหลักสูตร การประเมินผลการฝึกอบรมหลักสูตรคนงานควบคุม ส่ง และบรรจุก๊าซประจำโรงงาน หนังสือรับรองการฝึกอบรมหลักสูตรคนงานควบคุม ส่ง และบรรจุก๊าซประจำโรงงานเป็นต้น [1],[2],[10],[11]
6 กฎหมายกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษหรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติของผู้ควบคุมดูแลผู้ปฎิบัติงานประจำ และหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมดูแลสำหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ได้แก่ ประเภทของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน คุณสมบัติของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน การฝึกอบรมและการสอบมาตรฐาน การกำหนดชนิดและขนาดโรงงานที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการโรงงาน การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ อากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการกากอุตสาหกรรม การต่อใบทะเบียน การเพิกถอนใบทะเบียน และแบบใบทะเบียนต่างๆ [1],[2],[3],[4],[11]
รายละเอียด
ลำดับ เรื่องที่ต้องปฏิบัติ อ้างอิงกฎหมาย
ฉบับที่
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
จำนวน 1 ฉบับ
พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535
จำนวน 10 ฉบับ
1 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการแจ้งและการรับแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน ได้แก่ ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานที่จะต้องแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน และการแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงานครั้งต่อ ๆ ไปให้แจ้งภายใน 90 วัน ก่อนวันครบกำหนดทุก ๆ 3 ปีนับแต่วันที่ผู้รับแจ้งออกหนังสือรับแจ้งให้ในครั้งก่อน และกรณีที่ไม่ได้แจ้งตามระยะเวลาที่ครบกำหนด 3 ปี ในคราวใด ให้ถือว่าผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานไม่ได้แจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงานนับแต่วันสิ้นกำหนดระยะเวลา 3 ปีของปีอันเป็นเหตุให้มีการแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน เป็นต้น [1],[2],[6],[11]
2 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติ การฝึกอบรม และสอบมาตรฐานของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน ได้แก่ คุณสมบัติของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรมบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน คุณสมบัติผู้เข้ารับการสอบมาตรฐาน การขออนุญาตขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยฝึกอบรมบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน หลักสูตรฝึกอบรมบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน หน้าที่ของหน่วยงานจัดฝึกอบรมบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน คุณสมบัติของหน่วยงานจัดสอบมาตรฐาน การขออนุญาตขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยจัดสอบมาตรฐาน การสอบมาตรฐาน หน้าที่ของหน่วยงานจัดสอบมาตรฐาน การตรวจสอบและกำกับดูแลหน่วยงานจัดฝึกอบรมและหน่วยงานจัดสอบมาตรฐาน [1],[2],[7]
3 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม ได้แก่ การขึ้นทะเบียนและต่ออายุผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรมแบบบุคคล และแบบบริษัทที่ปรึกษา และการปฏิบัติงานของผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม หรือบริษัทที่ปรึกษา เป็นต้น [1],[2],[8]
4 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรมและการสอบมาตรฐาน หลักสูตรผู้ควบคุมประจำหม้อน้ำหรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำความร้อน ได้แก่ การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรม รายละเอียดหลักสูตร การสอบมาตรฐาน ใบรับรองการฝึกอบรม และการกำกับดูแลหน่วยงานจัดฝึกอบรมเป็นต้น [1],[2],[9]
5 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ดำเนินการจัดฝึกอบรมและการออกหนังสือรับรองการฝึกอบรมหลักสูตรคนงานควบคุม ส่ง และบรรจุก๊าซประจำโรงงาน ได้แก่ การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรม รายละเอียดหลักสูตร การประเมินผลการฝึกอบรมหลักสูตรคนงานควบคุม ส่ง และบรรจุก๊าซประจำโรงงาน หนังสือรับรองการฝึกอบรมหลักสูตรคนงานควบคุม ส่ง และบรรจุก๊าซประจำโรงงานเป็นต้น [1],[2],[10],[11]
6 กฎหมายกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษหรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติของผู้ควบคุมดูแลผู้ปฎิบัติงานประจำ และหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมดูแลสำหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ได้แก่ ประเภทของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน คุณสมบัติของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน การฝึกอบรมและการสอบมาตรฐาน การกำหนดชนิดและขนาดโรงงานที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการโรงงาน การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ อากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการกากอุตสาหกรรม การต่อใบทะเบียน การเพิกถอนใบทะเบียน และแบบใบทะเบียนต่างๆ [1],[2],[3],[4],[11]
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ลำดับ รายชื่อกฎหมาย กฎหมาย
1 พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
2 พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535
3 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษ หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติของผู้ควบคุมดูแลผู้ปฎิบัติงานประจำำ และหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมดูแลสำหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ พ.ศ. 2545
4 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติของผู้ควบคุมดูแลผู้ปฏิบัติงานประจำ และหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียน ผู้ควบคุมดูแล สำหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
5 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ. 2552
6 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การแจ้งและการรับแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน พ.ศ. 2556
7 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คุณสมบัติ การฝึกอบรมและการสอบมาตรฐานของบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน พ.ศ. 2554
8 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม พ.ศ. 2556
9 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานจัดฝึกอบรมและการสอบมาตรฐาน หลักสูตรผู้ควบคุมประจำหม้อน้ำหรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำความร้อน พ.ศ. 2554
10 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ดำเนินการจัดฝึกอบรมและการออกหนังสือรับรองการฝึกอบรมหลักสูตรคนงานควบคุม ส่ง และบรรจุก๊าซประจำโรงงาน พ.ศ. 2554
11 ระเบียบกระทรวงอุตสาหกรรม ว่าด้วยการให้เอกชนเป็นผู้ตรวจสอบพิจารณาเอกสารและข้อเท็จจริงและจัดทำรายงานรับรอง แทนการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2557
แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง
ลำดับ รายชื่อฟอร์ม แบบฟอร์ม