3.1.3.2 การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย

รายละเอียด
ลำดับ เรื่องที่ต้องปฏิบัติ อ้างอิงกฎหมาย
ฉบับที่
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
จำนวน 38 ฉบับ
1 กฎหมายกำหนดข้อปฏิบัติทั้งหมดเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ได้แก่ คณะกรรมการวัตถุอันตราย การควบคุมวัตถุอันตราย หน้าที่และความรับผิดทางแพ่ง และบทกำหนดโทษ [1]
2 เพิ่มเติมอนุสัญญาว่าด้วยการห้ามพัฒนา ผลิต สะสม และใช้อาวุธเคมี และว่าด้วยการทำลายอาวุธเหล่านี้ ซึ่งทำขึ้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536 [2]
3 เพิ่มเติมแก้ไขรายละเอียดของคณะกรรมการวัตถุอันตราย และการนำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย [3]
4 กำหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับวัตถุอันตราย [1],[2],[3],[4]
5 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์และข้อปฏิบัติในการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ [1],[2],[3],[5]
6 กฎหมายกำหนดหน่วยงานผู้รับชำระเงินค่าธรรมเนียมรายปีแทนกรมโรงงานอุตสาหกรรม [1],[2],[3],[6]
7 ผู้นำเข้า หรือผู้ส่งออก ซึ่งวัตถุอันตรายแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชื่อวัตถุอันตรายสูตรและอัตราส่วน ชื่อทางการค้า ชื่อสามัญหรือชื่อย่อ ปริมาณ ภาชนะบรรจุ ชื่อผู้ผลิต ประเทศผู้ผลิต สถานที่รักษา ชื่อพาหน่านศุลกากรที่นำเข้าหรือส่งออก และกำหนดวันที่พาหนะจะมาถึงหรือออกจากด่านศุลกากรให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบตามแบบ วอ./อก.6 ก่อนนำหรือส่งวัตถุอันตรายออกจากด้านศุลกากร [1],[2],[3],[7]
8 ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายตามบัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย ต้องแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ชื่อสูตรและอัตราส่วน ชื่อทางการค้า ชื่อสามัญหรือชื่อย่อ ทะเบียน ปริมาณที่ผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ครอบครอง ปริมาณที่ขาย ขายแก้ผู้ใดและผู้ซื้อนำไปใช้ในกิจการใด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบตามแบบ วอ./อก.7 [1],[2],[3],[7]
9 กฎหมายกำหนดยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 เกี่ยวกับการผลิต การนำเข้า และการมีไว้ในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 (อาวุธเคมี) ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ [1],[2],[3],[8]
10 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก ซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ (วอ./อก.๖) โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม [1],[2],[3],[18],[19]
11 กฎหมายกำหนดคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตนำเข้าวัตถุอันตรายและหลักเกณฑ์การพิจารณา อนุญาตการนำเข้าวัตถุอันตรายสารกลุ่มไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (HCFCs) [1],[2],[3],[20]
12 กฎหมายกำหนดให้อายุใบอนุญาตนำเข้าวัตถุอันตรายสารกลุ่มไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (HCFCs) สิ้นสุดอายุใบอนุญาตตามสนธิสัญญาและข้อผูกพันระหว่างประเทศ [1],[2],[3],[21]
13 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก ซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ (วอ./อก.6) โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ การขอใช้บริการ เงื่อนไขการให้บริการ การระงับการให้บริการ และขั้นตอนการแจ้ง วอ./อก. 6 [1],[2],[3],[22]
14 กฎหมายกำหนดว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ (แบบ วอ./อก.7) โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม [1],[2],[3],[38]
15 กฎหมายกำหนดอัตราความเข้มข้นในแต่ละสูตรของวัตถุอันตรายที่รับขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ [1],[2],[3],[23],[24],[25],[26]
16 กฎหมายกำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ [1],[2],[3],[27]
17 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของ การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุ และการต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ [1],[2],[3],[34]
18 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญและการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย ที่กรมวิชาการเกษตรรับผิดชอบ [1],[2],[3],[28],[29],[30],[31],[32],[33]
19 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย การออกใบสำคัญและการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย ที่กรมประมงเป็นผู้รับผิดชอบ [1],[2],[3],[11]
20 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[12]
21 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[13]
22 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก และการมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้าง ซึ่งวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[17]
23 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[14]
24 กฎหมายกำหนดรายละเอียดการยกเว้นการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย naphthalene และวัตถุอันตราย p-dichlorobenzene [1],[2],[3],[15]
25 กฎหมายกำหนดรายละเอียดการยกเว้นการปฏิบัติของการมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายเพื่อใช้รับจ้าง ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยามีอำนาจหน้าที่รับผิดอบ [1],[2],[3],[16]
26 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของหลักเกณฑ์และวิธีการขออนุญาตผลิต นำเข้า หรือส่งออกวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา [1],[2],[3],[37]
27 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและการต่ออายุใบรับแจ้ง การดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[35]
28 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการกำหนดรายการข้อมูลเอกสารและหลักฐานเพื่อการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย [1],[2],[3],[36]
29 กฎหมายกำหนดรายละเอียดการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ซึ่งวัตถุอันตรายตามบัญชี 5.6 ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ [1],[2],[3],[9]
รายละเอียด
ลำดับ เรื่องที่ต้องปฏิบัติ อ้างอิงกฎหมาย
ฉบับที่
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
จำนวน 38 ฉบับ
1 กฎหมายกำหนดข้อปฏิบัติทั้งหมดเกี่ยวกับวัตถุอันตราย ได้แก่ คณะกรรมการวัตถุอันตราย การควบคุมวัตถุอันตราย หน้าที่และความรับผิดทางแพ่ง และบทกำหนดโทษ [1]
2 "เพิ่มเติมอนุสัญญาว่าด้วยการห้ามพัฒนา ผลิต สะสม และใช้อาวุธเคมี และว่าด้วยการทำลายอาวุธเหล่านี้ ซึ่งทำขึ้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2536" [2]
3 เพิ่มเติมแก้ไขรายละเอียดของคณะกรรมการวัตถุอันตราย และการนำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย [3]
4 กำหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับวัตถุอันตราย [1],[2],[3],[4]
5 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์และข้อปฏิบัติในการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ [1],[2],[3],[5]
6 กฎหมายกำหนดหน่วยงานผู้รับชำระเงินค่าธรรมเนียมรายปีแทนกรมโรงงานอุตสาหกรรม [1],[2],[3],[6]
7 ผู้นำเข้า หรือผู้ส่งออก ซึ่งวัตถุอันตรายแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับชื่อวัตถุอันตรายสูตรและอัตราส่วน ชื่อทางการค้า ชื่อสามัญหรือชื่อย่อ ปริมาณ ภาชนะบรรจุ ชื่อผู้ผลิต ประเทศผู้ผลิต สถานที่รักษา ชื่อพาหน่านศุลกากรที่นำเข้าหรือส่งออก และกำหนดวันที่พาหนะจะมาถึงหรือออกจากด่านศุลกากรให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบตามแบบ วอ./อก.6 ก่อนนำหรือส่งวัตถุอันตรายออกจากด้านศุลกากร [1],[2],[3],[7]
8 ผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายตามบัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย ต้องแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ชื่อสูตรและอัตราส่วน ชื่อทางการค้า ชื่อสามัญหรือชื่อย่อ ทะเบียน ปริมาณที่ผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ครอบครอง ปริมาณที่ขาย ขายแก้ผู้ใดและผู้ซื้อนำไปใช้ในกิจการใด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบตามแบบ วอ./อก.7 [1],[2],[3],[7]
9 กฎหมายกำหนดยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 เกี่ยวกับการผลิต การนำเข้า และการมีไว้ในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 (อาวุธเคมี) ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ [1],[2],[3],[8]
10 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก ซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ (วอ./อก.๖) โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม [1],[2],[3],[18],[19]
11 กฎหมายกำหนดคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตนำเข้าวัตถุอันตรายและหลักเกณฑ์การพิจารณา อนุญาตการนำเข้าวัตถุอันตรายสารกลุ่มไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (HCFCs) [1],[2],[3],[20]
12 กฎหมายกำหนดให้อายุใบอนุญาตนำเข้าวัตถุอันตรายสารกลุ่มไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (HCFCs) สิ้นสุดอายุใบอนุญาตตามสนธิสัญญาและข้อผูกพันระหว่างประเทศ [1],[2],[3],[21]
13 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก ซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ (วอ./อก.6) โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ การขอใช้บริการ เงื่อนไขการให้บริการ การระงับการให้บริการ และขั้นตอนการแจ้ง วอ./อก. 6 [1],[2],[3],[22]
14 กฎหมายกำหนดว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ (แบบ วอ./อก.7) โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม [1],[2],[3],[38]
15 กฎหมายกำหนดอัตราความเข้มข้นในแต่ละสูตรของวัตถุอันตรายที่รับขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ [1],[2],[3],[23],[24],[25],[26]
16 กฎหมายกำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ [1],[2],[3],[27]
17 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของ การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุ และการต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ [1],[2],[3],[34]
18 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญและการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย ที่กรมวิชาการเกษตรรับผิดชอบ [1],[2],[3],[28],[29],[30],[31],[32],[33]
19 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย การออกใบสำคัญและการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย ที่กรมประมงเป็นผู้รับผิดชอบ [1],[2],[3],[11]
20 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[12]
21 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[13]
22 กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก และการมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้าง ซึ่งวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[17]
23 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[14]
24 กฎหมายกำหนดรายละเอียดการยกเว้นการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย naphthalene และวัตถุอันตราย p-dichlorobenzene [1],[2],[3],[15]
25 กฎหมายกำหนดรายละเอียดการยกเว้นการปฏิบัติของการมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายเพื่อใช้รับจ้าง ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยามีอำนาจหน้าที่รับผิดอบ [1],[2],[3],[16]
26 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของหลักเกณฑ์และวิธีการขออนุญาตผลิต นำเข้า หรือส่งออกวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา [1],[2],[3],[37]
27 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและการต่ออายุใบรับแจ้ง การดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ [1],[2],[3],[35]
28 กฎหมายกำหนดรายละเอียดของการกำหนดรายการข้อมูลเอกสารและหลักฐานเพื่อการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย [1],[2],[3],[36]
29 กฎหมายกำหนดรายละเอียดการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ซึ่งวัตถุอันตรายตามบัญชี 5.6 ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ [1],[2],[3],[9]
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ลำดับ รายชื่อกฎหมาย กฎหมาย
1 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
2 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544
3 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551
4 กฎกระทรวง กำหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับวัตถุอันตราย พ.ศ. 2552
5 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. 2552
6 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หน่วยงานผู้รับชำระเงินค่าธรรมเนียมรายปีแทนกรมโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2550
7 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การให้แจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออกหรือผู้มีไว้ในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ พ.ศ. 2547
8 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 เกี่ยวกับการผลิต การนำเข้า และการมีไว้ในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 (อาวุธเคมี) ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ พ.ศ. 2546
9 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ซึ่งวัตถุอันตรายตามบัญชี 5.6 ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. 2558
10 ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญและการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย ที่กรมวิชาการเกษตรรับผิดชอบ พ.ศ. 2551
11 ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย การออกใบสำคัญและการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย ที่กรมประมงเป็นผู้รับผิดชอบ พ.ศ. 2551
12 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558
13 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ. 2558
14 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ. 2552
15 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยกเว้นการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย naphthalene และวัตถุอันตราย p-dichlorobenzene
16 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยกเว้นการปฏิบัติของการมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายเพื่อใช้รับจ้าง ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยามีอำนาจหน้าที่รับผิดอบ
17 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการผลิต การนำเข้า การส่งออก และการมีไว้ในครอบครองเพื่อใช้รับจ้าง ซึ่งวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ. 2555
18 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก ซึ่งวัตถุอันตราย ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ (วอ./อก.6) โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557
19 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเกียวกับการแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและการต่ออายุใบรับแจ้ง การดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2556
20 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตนำเข้าวัตถุอันตรายและหลักเกณฑ์การพิจารณา อนุญาตการนำเข้าวัตถุอันตรายสารกลุ่มไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (HCFCs) พ.ศ. 2556
21 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดให้อายุใบอนุญาตนำเข้าวัตถุอันตราย สารกลุ่มไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (HCFCs) สิ้นสุด พ.ศ. 2556
22 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้นำเข้าหรือผู้ส่งออก ซึ่งวัตถุอันตราย ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ (วอ./อก.6) โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2555
23 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง การกำหนดอัตราความเข้มข้นในแต่ละสูตรของวัตถุอันตรายที่รับขึ้นทะเบียน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556
24 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง การกำหนดอัตราความเข้มข้นในแต่ละสูตรของวัตถุอันตรายที่รับขึ้นทะเบียน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2556
25 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดอัตราความเข้มข้นในแต่ละสูตรของวัตถุอันตรายที่รับขึ้นทะเบียน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2557
26 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดอัตราความเข้มข้นในแต่ละสูตรของวัตถุอันตรายที่รับขึ้นทะเบียน พ.ศ. 2554
27 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ พ.ศ. 2552
28 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553
29 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554
30 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2554
31 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2554
32 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2555
33 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง กำหนดรายละเอียด หลักเกณฑ์ และวิธีการขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2555
34 ประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุ และการต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่กรมวิชาการเกษตรเป็นผู้รับผิดชอบ พ.ศ. 2553
35 ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและการต่ออายุใบรับแจ้ง การดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ. 2556
36 ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การกำหนดรายการข้อมูลเอกสารและหลักฐานเพื่อการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย พ.ศ. 2552
37 ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการขออนุญาตผลิต นำเข้า หรือส่งออกวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา พ.ศ. 2557
38 "ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบ (แบบ วอ./อก.7) โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2547"
แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง
ลำดับ รายชื่อฟอร์ม แบบฟอร์ม
1 ใบแจ้งข้อเท็จจริงของผู้นำเข้า หรือผู้ส่งออกวัตถุอันตรายในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (แบบ วอ./อก.6)
2 ใบแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำเข้า ผู้ส่งออก หรือผู้มีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรายในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (แบบ วอ./อก.7)