กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กรุงเทพ 16 พฤศจิกายน 2565 - นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม หารือกับ นายนิชิมุระ ยาสึโทชิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม ประเทศญี่ปุ่น (METI) ด้านความร่วมมืออุตสาหกรรมและแลกเปลี่ยนกรอบความร่วมมือ เพื่อพัฒนาบุคลากร ยกระดับภาคอุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 โดย รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. เข้าร่วมการหารือดังกล่าวด้วย ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค (BITEC)
ทั้งนี้ การหารือครั้งนี้เป็นการต่อยอดกรอบการทำงาน Framework Document on Co-Creation for Innovation and Sustainable Growth ที่รัฐมนตรีทั้ง 2 ท่าน ได้มีการแลกเปลี่ยนกันไปก่อนหน้านี้ในช่วงต้นปี 2565 โดยมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยี และการเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรภาคอุตสาหกรรม
รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “หลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดราคากลางงานก่อสร้างราชการ ตาม พ.ร.บ. จัดซื้อจัดจ้าง” โดยมีนางปนัดดา รุ่งเรืองศรี รองผู้ว่าการ (บริหาร) เป็นผู้กล่าวรายงาน และมี นางสาวนลินี กาญจนามัย ผู้ช่วยผู้ว่าการ (บริหาร) ผู้บริหารและพนักงานเข้าร่วมการอบรมฯ
รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. ให้เกียรติเป็นประธานพิธีเปิดป้ายห้องประชุมวีริศ สำนักงานนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง ในโอกาสเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปี ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการบริหารมูลนิธิกองทุนหลักประกันความเสียหายฉุกเฉินและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ครั้งที่ 1/2566 พร้อมด้วย นายพรเทพ ภูริพัฒน์ รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 3) นายคณพศ ขุนทอง ผู้ช่วยผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 3) นายอนุชิต สวัสดิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด เพื่อประชุมหารือเกี่ยวกับ ความคืบหน้าการเยียวยาผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านที่ได้รับผลกระทบจากโครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ 3
นายธาดา สุนทรพันธุ์ รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 2) พร้อมด้วยนายเริงฤทธิ์ กุศลกรรมบถ ผู้ช่วยผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 2) และผู้บริหาร กนอ. ประชุมร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ประกอบกิจการโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมเกตเวย์ซิตี้ พร้อมผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรม ซึ่งดำเนินงานตามแผนภายใต้ ”โครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์คู่ค้าและลูกค้า (Factory & Partner Visit) ปีงบประมาณ 2566”