กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กรุงเทพ 19 มกราคม 2566 - รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. ได้มอบหมายให้ นางปนัดดา รุ่งเรืองศรี รองผู้ว่าการ (บริหาร) รักษาการรองผู้ว่าการ (พัฒนาที่ยั่งยืน) เป็นประธานเปิดการประชุมรับฟังความคิดเห็น "แนวทางการพัฒนา/ปรับปรุงกฏระเบียบหรือข้อกำหนดหรือแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับการกำกับดูแลและการติดตามตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อมความปลอดภัยและพลังงาน" พร้อมด้วย นางบุปผา กวินวศิน ผู้ช่วยผู้ว่าการ (พัฒนาที่ยั่งยืน) นางสาวจริยา สุขะปาน ผู้อำนวยการฝ่ายสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย และทีมงานกองสิ่งแวดล้อมและพลังงานร่วมจัดการประชุมรับฟังความคิดเห็น ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการยกระดับการกำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและพลังงาน เพื่อระดมความคิดเห็นต่างๆ จากหน่วยงานราชการ สมาคมวิชาชีพ ผู้พัฒนานิคมฯ ผู้ประกอบการ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ กนอ. ที่เกี่ยวข้อง
ทั้งนี้ ในช่วงบ่ายได้รับเกียรติจาก นายรินทวัฒน์ สมบัติศิริ ผู้อำนวยการกองพัฒนาระบบมาตรฐานงานกำกับโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้ร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ในหัวข้อ "แนวทางการตรวจประเมินโดยเอกชน ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน" การจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นในวันนี้เป็นการประชุมระบบ Hybrid Meeting ผ่านระบบออนไลน์และร่วมประชุม ณ ห้องประชุมแซฟไฟร์ 1-2 โรงแรมเซนจูรี่ พาร์ค จาก 111 หน่วยงาน จำนวนรวมทั้งสิ้นประมาณ 350 ท่าน
รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “หลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดราคากลางงานก่อสร้างราชการ ตาม พ.ร.บ. จัดซื้อจัดจ้าง” โดยมีนางปนัดดา รุ่งเรืองศรี รองผู้ว่าการ (บริหาร) เป็นผู้กล่าวรายงาน และมี นางสาวนลินี กาญจนามัย ผู้ช่วยผู้ว่าการ (บริหาร) ผู้บริหารและพนักงานเข้าร่วมการอบรมฯ
รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. ให้เกียรติเป็นประธานพิธีเปิดป้ายห้องประชุมวีริศ สำนักงานนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง ในโอกาสเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปี ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการบริหารมูลนิธิกองทุนหลักประกันความเสียหายฉุกเฉินและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ครั้งที่ 1/2566 พร้อมด้วย นายพรเทพ ภูริพัฒน์ รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 3) นายคณพศ ขุนทอง ผู้ช่วยผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 3) นายอนุชิต สวัสดิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด เพื่อประชุมหารือเกี่ยวกับ ความคืบหน้าการเยียวยาผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านที่ได้รับผลกระทบจากโครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ 3
นายธาดา สุนทรพันธุ์ รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 2) พร้อมด้วยนายเริงฤทธิ์ กุศลกรรมบถ ผู้ช่วยผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 2) และผู้บริหาร กนอ. ประชุมร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้ประกอบกิจการโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมเกตเวย์ซิตี้ พร้อมผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรม ซึ่งดำเนินงานตามแผนภายใต้ ”โครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์คู่ค้าและลูกค้า (Factory & Partner Visit) ปีงบประมาณ 2566”