กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
นายวีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เปิดเผยว่า โครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม (ธงขาวดาวเขียว) เป็นโครงการส่งเสริมให้โรงงานในนิคมอุตสาหกรรมยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม อันเป็นกลไกในการสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างภาคประชาชน ผู้ประกอบการ ให้มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยมอบธงที่มีสัญลักษณ์ดาวสีเขียว ให้แก่โรงงานที่มีผลการประเมินการดำเนินงานใน 5 มิติ ประกอบด้วย มิติกายภาพ มิติเศรษฐกิจ มิติสิ่งแวดล้อม มิติด้านสังคม และมิติการบริหารจัดการได้ตามมาตรฐาน ซึ่งต้องอยู่ในเกณฑ์ดี-ดีเยี่ยม ขณะที่การมอบธงสัญลักษณ์ดาวสีทองนั้น จะให้โรงงานที่มีผลการประเมินได้ตามมาตรฐานอยู่ในเกณฑ์ดี-ดีเยี่ยมต่อเนื่องเป็นเวลา 6 ปี เพื่อเชิดชูเกียรติให้กับโรงงานที่รักษาระดับการบริหารจัดการที่ดีได้อย่างต่อเนื่อง
โครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม หรือธงขาวดาวเขียว (Green Star Award) เริ่มดำเนินโครงการมาตั้งแต่ปี 2550 ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด และขยายการดำเนินโครงการไปยังนิคมอุตสาหกรรมอื่นๆ ทั่วประเทศ โดยตั้งแต่ปี 2550 – 2565 มีโรงงานที่เข้าร่วมการตรวจประเมินในโครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมรวมทั้งสิ้น 2,710 โรงงาน
สำหรับปี 2565 มีโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมที่มีผลการประเมินการบริหารจัดการและการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์ดี-ดีเยี่ยม (ธงขาวดาวเขียว) จำนวน 127 โรงงาน ใน 32 นิคมอุตสาหกรรม ขณะที่โรงงานซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในเกณฑ์ดี-ดีเยี่ยม 6 ปีต่อเนื่อง (ธงขาวดาวทอง) จำนวน 29 โรงงาน ใน 8 นิคมอุตสาหกรรม โดยมีพิธีมอบธงธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม และใบประกาศเกียรติคุณ เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2566 ที่ผ่านมา ณ โรงแรมพูลแมน คิงพาวเวอร์ กรุงเทพฯ
“กนอ.มุ่งมั่นพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้การยึดหลักธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการที่ได้มาตรฐาน มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติในระยะยาว สร้างความสมดุลระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสังคม ตลอดจนสร้างการยอมรับจากทุกภาคส่วนในระบบการบริหารจัดการที่มีมาตรฐานของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม รวมทั้งสร้างความเชื่อมั่นให้กับชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรม เพื่อให้นิคมอุตสาหกรรมอยู่คู่กับชุมชนและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน” นายวีริศ กล่าว
ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมให้โรงงานในนิคมอุตสาหกรรม มุ่งมั่นในการยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนวิสัยทัศน์ “นำนิคมอุตสาหกรรมสู่มาตรฐานสากล ด้วยนวัตกรรมอย่างยั่งยืน” กนอ.จึงมอบสิทธิประโยชน์ให้แก่โรงงานที่ดำเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยยอดเยี่ยมต่อเนื่อง (ธงขาวดาวทอง) โดยได้รับการลดหย่อนค่าบริการอนุญาตด้านการใช้ที่ดินและประกอบกิจการ และด้านสิทธิประโยชน์ที่ไม่ใช่ภาษี ร้อยละ 50 ต่อ 1 คำขอ อย่างไรก็ตาม ใบประกาศเกียรติคุณโรงงานธงขาวดาวทองที่ได้รับนั้น ต้องมีอายุไม่เกิน 3 ปี นับจากวันประกาศ โดยมีผลตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2567
รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. พร้อมด้วยนางปนัดดา รุ่งเรืองศรี รผก.บร. และนางนิภา รุกขมธุร์ ผช.ผวก.ยศ.รก.รผก.ยศ. ร่วมประชุมผู้บริหารกระทรวงอุตสาหกรรม เนื่องในโอกาส นายอนุชา นาคาศัย รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รักษาราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เข้าสักการะองค์พระนารายณ์ และร่วมประชุมกับผู้บริหารกระทรวงอุตสาหกรรม ณ ห้องประชุม อก.1ชั้น 2 อาคาร สปอ.
รศ.ดร.วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. เข้าเยี่ยมชมมูลนิธิ ณ กิตติคุณ และมอบเงินบริจาคเพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมสำหรับบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ จำนวน 24,000 บาท
“วีริศ” ปลื้ม ผลสำรวจแนวโน้มทางเศรษฐกิจของบริษัทร่วมทุนญี่ปุ่นในไทย ตอกย้ำความเป็น “Supply Chain” ที่แข็งแกร่งในสายตานักลงทุนญี่ปุ่น เผยตัวเลขดัชนีแนวโน้มเศรษฐกิจครึ่งปีแรกไปได้สวย โดยยังอยู่ในแดนบวก แจงพร้อมนำทุกข้อกังวลมาปรับปรุงและพัฒนา เพื่อให้ได้รับความสนใจจากนักลงทุนอย่างยั่งยืน!
รศ.ดร. วีริศ อัมระปาล ผู้ว่าการ กนอ. ให้เกียรติเป็นประธาน ในกิจกรรมสัมมนาการจัดทำแผนวิสาหกิจ กนอ. ปีงบประมาณ 2566 - 2570 (ทบทวนปีงบประมาณ 2567) โดยมีผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมสัมมนา และบริษัท ทริส คอร์ปอเรชั่น จำกัด เป็นวิทยากร