กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
กนอ. ได้จัดตั้งสำนักบริการเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service Center : OSS) ขึ้น เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการในการทำธุรกิจกับกนอ. ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือเช่าที่ดิน การแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการตั้งโรงงาน การอนุมัติคำขออนุญาตและการออกใบรับรองที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการจัดตั้งโรงงานในทุกขั้นตอนโดยง่าย หรือแม้แต่การพัฒนาจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับ กนอ.
วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน 2567 รศ.ดร. วีริศ อัมระปาล ผวก.กนอ. มอบหมายให้ นางสาววิชชุดา สีมาขจร ผช.ผวก.บร. เป็นผู้แทนเข้าร่วมงานกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายรัฐวิสาหกิจในงาน"State Enterprise Networking Knowledge Sharing 2024" โดยมีนางสาวปฐมา ฤกษเสน ผอ.ฝพอ., นางสาวจารุวรรณ ภูวจรูญกุล ผอ.กพจ., นางสาวฉัตราภรณ์ สุวรรณหิรัญพร ผอ.กพบ., นางสาวภาวิดา มั่นในสัจจธรรม ผอ.กปร., นางสาวญาดา มะลิทอง ผอ.กกท., นางสาววรพี นาคเพ็ชร์ ผอ.กพช., พร้อมทีม กปร. เข้าร่วมกิจกรรม ณ ห้องประชุม Auditorium อาคาร 3 ชั้น 2 ปตท.สนญ. และคณะทำงาน Core Business Enablers เข้าร่วมในรูปแบบ Online
โดยวัตถุประสงค์ของกิจกรรมนี้เป็นการสร้างเครือข่ายของรัฐวิสาหกิจ นำโดย บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน), การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน), ธนาคารออมสิน, การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, องค์การคลังสินค้า และการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งมีการขยายเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบันมีรัฐวิสาหกิจเข้าร่วมเครือข่ายรวม 24 หน่วยงาน เพื่อร่วมกันปรับปรุงและยกระดับระบบบริหารจัดการองค์กรให้สอดคล้องตามเกณฑ์การประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ (เกณฑ์SE-AM)
ทั้งนี้ นายธนรัช วิศัลอังกูร นักวิเคราะห์ 6 กจต. เป็นตัวแทน กนอ. ร่วมเป็นพิธีกรคู่กับ ปตท. โดยในงานแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ดังนี้
1. ช่วงเช้า เวลา 09.00 – 12.00 น. มีการนำเสนอ ดังนี้
- บทบาทของผู้บริหารในการผลักดันผลสำเร็จด้าน Core Business Enablers โดย นพ.สิทธิศักดิ์ พฤกษ์ปิติกุล ผู้ตรวจประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
- Best Practices Sharing จากการตรวจประเมิน โดย สคร. และบริษัทที่ปรึกษา (TRIS, BRIDGE, IRDP)
- ประเด็นที่พบจากการตรวจประเมิน Site Visit ประจำปี 2567 โดย คุณบงกต มหานุกูล ผู้จัดการฝ่ายระบบบริหารองค์กร ในฐานะผู้แทนสมาชิกเครือข่าย State Enterprise Networking
2. ช่วงบ่าย เวลา 13.15 – 16.30 น. (Close Session for Networking) มีการ sharing จาก Best Practice ดังนี้
- การมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (SM) โดย ธนาคารออมสิน
- การบริหารทุนมนุษย์ (HCM) โดย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
- การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล (DT) โดย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
- การกำกับดูแลที่ดีและการนำองค์กร (CG&LD) โดย ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
ซึ่งเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายรัฐวิสาหกิจ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาและปรับปรุงผลการดำเนินการขององค์กรให้มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น รวมถึงช่วยยกระดับคะแนนผลการดำเนินงานของ กนอ. ต่อไป
สายงานพัฒนาที่ยั่งยืน โดย กพช.ฝชส. จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เพื่อระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) และความต้องการ ความกังวลและความคาดหวัง (VOSs) ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของ กนอ. และสายงาน/ฝ่ายงาน ณ ห้องประชุมอัศวิน แกรนด์ เอ ชั้น 4 โรงแรมอัศวิน แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
กนอ. เข้าร่วมบรรยายภายใต้โครงการส่งเสริมความสัมพันธ์กับภาคส่วนในมณฑลกวางตุ้งเพื่อพัฒนาลู่ทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจ EEC – GBA จัดโดยกงสุลใหญ่ ณ นครกว่างโจว
สายงานบริหาร กพบ.ฝทบ. ร่วมกับ ฝดจ. จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ Digital Mastery ของ กนอ. ปีงบประมาณ 2568 ในหัวข้อ AI for Business สำหรับพนักงานระดับ 5-8 ณ ห้องพระพรหม ชั้น 3 โรงแรมอัศวิน แกรนด์ คอนเวนชั่น